Tourism Industry Dpu002
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
วันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2553
Tourism Industry [บทที่4]
องค์ประกอบสำคัญของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวจัดเป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่งที่มีส่วนส่งเสริมอุตสาหกรรมกราท่องเที่ยวและเป็นปัจจัยที่ช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางเข้ามาในประเทศ
หากไร้ซึ่งแหล่งท่องเที่ยวแล้ว คงไม่มีนักท่องเที่ยวอยากเดินทางเข้ามายังประเทศนั้น ๆ มีคำจำกัดความ 3 คำ ที่จำเป็นในการศึกษาแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่
ประเภทของแหล่งท่องเที่ยว
อาจจัดแบ่งแหล่งท่องเที่ยวได้ด้วยลักษณะเฉพาะต่าง ๆ ได้แก่
- แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น
- แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรมของผู้คนในท้องถิ่น
แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ
สถานที่ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติทั้งทางด้านชีวภาพ และกายภาพ รวมทั้งบริเวณที่มนุษย์เข้าไปปรับปรุงแต่งเพิ่มเติมจากสภาพธรรมชาติในบางส่วน ซึ่งทรัพยากรประเภทนี้ไม่มีต้นทุนทางการผลิตแต่มีต้นทุนในด้านการดูแลรักษา อาทิ ภูเขา น้ำตก ทะเล หาดทราย ฯล
แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น
สถานที่ที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้างและอายุ รวมทั้งรูปแบบสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกันออกไป แต่ท้ายที่สุดก็กลายเป็นทรัพยากรที่มีค่าทางการท่องเที่ยวได้แก่ ศาสนสถาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ
แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรมของผู้คนในท้องถิ่น
เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่พัฒนามาจากวัฒนธรรม ประเพณี การดำรงชีวิตของผู้คน อาทิ แห่นางแมว บุญบั้งไฟ สงกรานต์ วิถีชีวิตของชุมชนชาวเขา ไร่นา สวนพืช ผักต่าง ๆ ฯล
แหล่งท่องเที่ยวในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย
อ้างอิง
เอกสารคำสอนวิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว HT201
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
อ้างอิงรูปภาพ
http://travel.kapook.com/view6580.html
http://travel.kapook.com/view13783.html
http://travel.kapook.com/view14384.html
http://www.oknation.net/blog/klunpang/2009/04/09/entry-2
http://hilight.kapook.com/view/34788
http://travel.kapook.com/view15128.html
http://travel.kapook.com/view15789.html
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=modlek&month=15-08-2009&group=3&gblog=45
http://travel.kapook.com/view4453.html
http://leadership.exteen.com/20090613/entry
น้ำตกเอราวัณ |
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวจัดเป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่งที่มีส่วนส่งเสริมอุตสาหกรรมกราท่องเที่ยวและเป็นปัจจัยที่ช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางเข้ามาในประเทศ
หากไร้ซึ่งแหล่งท่องเที่ยวแล้ว คงไม่มีนักท่องเที่ยวอยากเดินทางเข้ามายังประเทศนั้น ๆ มีคำจำกัดความ 3 คำ ที่จำเป็นในการศึกษาแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่
- ทรัพยากรทางการท่องเที่ยว
- จุดหมายปลายทาง
- สิ่งดึงดูดใจทางการท่องเที่ยว
ประเภทของแหล่งท่องเที่ยว
อาจจัดแบ่งแหล่งท่องเที่ยวได้ด้วยลักษณะเฉพาะต่าง ๆ ได้แก่
- ขอบเขต (จุดมุ่งหมายหลัก,จุดมุ่งหมายรอง)
- ความเป็นเจ้าของ
- ความคงทนถาวร
- ศักยภาพในการดึงดูดนักท่องเที่ยว
- แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น
- แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรมของผู้คนในท้องถิ่น
ดอยกาดผี จ.เชียงราย |
แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ
สถานที่ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติทั้งทางด้านชีวภาพ และกายภาพ รวมทั้งบริเวณที่มนุษย์เข้าไปปรับปรุงแต่งเพิ่มเติมจากสภาพธรรมชาติในบางส่วน ซึ่งทรัพยากรประเภทนี้ไม่มีต้นทุนทางการผลิตแต่มีต้นทุนในด้านการดูแลรักษา อาทิ ภูเขา น้ำตก ทะเล หาดทราย ฯล
พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน |
แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น
สถานที่ที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้างและอายุ รวมทั้งรูปแบบสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกันออกไป แต่ท้ายที่สุดก็กลายเป็นทรัพยากรที่มีค่าทางการท่องเที่ยวได้แก่ ศาสนสถาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ
ประเพณีวันสงกรานต์ |
แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรมของผู้คนในท้องถิ่น
เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่พัฒนามาจากวัฒนธรรม ประเพณี การดำรงชีวิตของผู้คน อาทิ แห่นางแมว บุญบั้งไฟ สงกรานต์ วิถีชีวิตของชุมชนชาวเขา ไร่นา สวนพืช ผักต่าง ๆ ฯล
แหล่งท่องเที่ยวในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย
ภาคกลาง
เกาะเกร็ด จ.นนทบุรี |
ภาคเหนือ
วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี จ.แพร่ |
พระธาตุช่อแฮ จ.แพร่ |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จ.ชัยภูมิ |
ภาคตะวันออก
หาดนางรำ จ.ชลบุรี |
ภาคใต้
อ่าวพังงา |
อ้างอิง
เอกสารคำสอนวิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว HT201
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
อ้างอิงรูปภาพ
http://travel.kapook.com/view6580.html
http://travel.kapook.com/view13783.html
http://travel.kapook.com/view14384.html
http://www.oknation.net/blog/klunpang/2009/04/09/entry-2
http://hilight.kapook.com/view/34788
http://travel.kapook.com/view15128.html
http://travel.kapook.com/view15789.html
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=modlek&month=15-08-2009&group=3&gblog=45
http://travel.kapook.com/view4453.html
http://leadership.exteen.com/20090613/entry
Tourism Industry [บทที่3]
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเดินทางนักท่องเที่ยว
แรงจูงใจ
-ความต้องการที่จะมีเกียติยศชื่อเสียง
-ความต้องการทางด้านสังคม
-ความต้องการความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต
-ความต้องการทางด้านสรีรวิทยา
-ความต้องการความภาคภูมิใจและการพัฒนาตนเอง
-ความต้องการสร้างสัมพันธภาพ
-ความต้องการความปลอดภัยมั่นคง
-ความต้องการที่จะได้รับความพึงพอใจอย่างสูงสุด
- การสำรวจและการการประเมินตนเอง
-การพักผ่อน
-ความต้องการเกียรติภูมิ
-ความต้องการที่จะถอยกลับไปสู่สภาพดั้งเดิม
-กระชับความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
-การเสริมสร้างการปะทะสังสรรค์ทางสังคม
-แรงจูงใจทางด้านวัฒนธรรม
-การท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองอารมณ์ความรู้สึกบางอย่าง
-การท่องเที่ยวเพื่อให้ได้มาเพื่อสถานภาพ
-แรงจูงใจในการพัฒนาตนเอง
-แรงจูงใจส่วนบุคคล
แนวโน้มของแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
ได้นำเสนอแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว 10 ประการตังต่อไปนี้
1. แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่งแวดล้อม
2. แรงจูงใจที่จะได้พบปะกันกับคนในท้องถิ่น
3. แรงจูงใจที่จะที่จะเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นและประเทศเจ้าบ้าน
4. แรงจูงใจที่จะเสริมสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว
5. แรงจูงใจที่จะได้พักผ่อนในสภาพแวดล้อมที่น่าสบาย
6. แรงจูงใจที่จะที่ได้ทำกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจและฝึกทักษะ
7. แรงจูงใจที่จะมีสุขภาพดี
8. แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มกันและความปลอดภัย
9. แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับนับถือและได้รับสถานภาพทางสังคม
10. แรงจูงใจที่จะให้รางวัลแก่ตัวเอง
ตัวอย่างการวิจัยที่ใช้วิธีการศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย
นักเดินทางประเภทแบกเป้ (Backpackers) นักเดินทางแบบนี้กำลังเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อย ๆ ในออสเตรเลีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และนิวซีแลนด์ แรงจูงใจที่ทำให้เกิดการเดินทางในลักษณะนี้อาจสรุปได้เป็น 4 มิติด้วยกันดังต่อไปนี้
โครงสร้างพื้นฐานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
หมายถึง องค์ประกอบพื้นฐานในการรองรับระบบการท่องเที่ยวทั้งระบบ ถือเป็นส่วนสนับสนุนให้การท่องเที่ยวสามารดำเนินไปได้ด้วยดี และทำให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
โครงสร้างพื้นฐานหลัก ๆ ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ได้แก่
ปัจจัยที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวในแต่ละภูมิภาค
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยทางวัฒนธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยดึงดูดและผลักดันให้นักท่องเที่ยวแต่ละคนเดินทางออกจากแหล่งที่ตนเองอาศัยอยู่
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์
เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และเป็นปัจจัยที่สำคัญในการสร้างสรรค์ภูมิทัศน์ที่เป็นสิ่งดึงดูดในทางการท่องเที่ยวได้เป็นอย่างมาก ซึ่งปัจจัยสำคัญเหล่านี้ ได้แก่
ปัจจัยทางวัฒนธรรม
วิถีการดำเนินชีวิตของคนในสังคม นับตั้งแต่วิธีกินอยู่ วิธีอยู่ วิธีการแต่งกาย วิธีทำงาน วิธีพักผ่อน วิธีแสดงอารมณ์ วิธีสื่อความ วิธีจราจรและขนส่ง วิธีอยู่ร่วมกันอย่างเป็นหมู่คณะ วิธีแสดงความสุขทางใจ และหลักเกณฑ์การดำเนินชีวิต
อ้างอิง
เอกสารคำสอนวิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว HT201
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
อ้างอิงรูปภาพ
http://rayong.kapook.com/00013/
http://www.vcharkarn.com/vblog/16268/6/n/67447/1
http://travel.kapook.com/view2940.html
http://web.chiangrai.net/tourcr/type_tour/cultural.php
http://www.wasi.or.th/wasi/index.php?page=link_p&select_page=1&group_=03&code=02&idHot_new=15
http://www.thaionlinemarket.com/picproduct/7-103/thumbnailshow259817.jpg
http://littlegeog26.blogspot.com/2009/12/blog-post_16.html
http://www.maipaimairoo.com/?p=1285
แรงจูงใจ
แสดงลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ (Maslow)
- ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
-ความต้องการที่จะมีเกียติยศชื่อเสียง
-ความต้องการทางด้านสังคม
-ความต้องการความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต
-ความต้องการทางด้านสรีรวิทยา
- ทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง
-ความต้องการความภาคภูมิใจและการพัฒนาตนเอง
-ความต้องการสร้างสัมพันธภาพ
-ความต้องการความปลอดภัยมั่นคง
-ความต้องการที่จะได้รับความพึงพอใจอย่างสูงสุด
- แรงจูงใจวาระซ่อนเร้น
- การสำรวจและการการประเมินตนเอง
-การพักผ่อน
-ความต้องการเกียรติภูมิ
-ความต้องการที่จะถอยกลับไปสู่สภาพดั้งเดิม
-กระชับความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
-การเสริมสร้างการปะทะสังสรรค์ทางสังคม
- แรงจูงในทางท่องเที่ยวในทัศนะของ Swarbrooke
-แรงจูงใจทางด้านวัฒนธรรม
-การท่องเที่ยวเพื่อตอบสนองอารมณ์ความรู้สึกบางอย่าง
-การท่องเที่ยวเพื่อให้ได้มาเพื่อสถานภาพ
-แรงจูงใจในการพัฒนาตนเอง
-แรงจูงใจส่วนบุคคล
แนวโน้มของแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว
ได้นำเสนอแรงจูงใจของนักท่องเที่ยว 10 ประการตังต่อไปนี้
1. แรงจูงใจที่จะได้สัมผัสสิ่งแวดล้อม
2. แรงจูงใจที่จะได้พบปะกันกับคนในท้องถิ่น
3. แรงจูงใจที่จะที่จะเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นและประเทศเจ้าบ้าน
4. แรงจูงใจที่จะเสริมสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัว
5. แรงจูงใจที่จะได้พักผ่อนในสภาพแวดล้อมที่น่าสบาย
6. แรงจูงใจที่จะที่ได้ทำกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวสนใจและฝึกทักษะ
7. แรงจูงใจที่จะมีสุขภาพดี
8. แรงจูงใจที่จะได้รับการคุ้มกันและความปลอดภัย
9. แรงจูงใจที่จะได้รับการยอมรับนับถือและได้รับสถานภาพทางสังคม
10. แรงจูงใจที่จะให้รางวัลแก่ตัวเอง
ตัวอย่างการวิจัยที่ใช้วิธีการศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย
นักเดินทางประเภทแบกเป้ (Backpackers) นักเดินทางแบบนี้กำลังเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อย ๆ ในออสเตรเลีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และนิวซีแลนด์ แรงจูงใจที่ทำให้เกิดการเดินทางในลักษณะนี้อาจสรุปได้เป็น 4 มิติด้วยกันดังต่อไปนี้
- การหลีกหนี
- การมุ่งเน้นในเรื่องสิ่งแวดล้อม
- การทำงาน
- เน้นการคบหาสมาคม
โครงสร้างพื้นฐานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงสร้างพื้นฐานหลัก ๆ ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ได้แก่
- ระบบไฟฟ้า
- ระบบประปา
- ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
- ระบบการขนส่ง (ทางอากาศ,ทางบก,ทางน้ำ)
- ระบบสาธารณสุข
ปัจจัยที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวในแต่ละภูมิภาค
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยทางวัฒนธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยดึงดูดและผลักดันให้นักท่องเที่ยวแต่ละคนเดินทางออกจากแหล่งที่ตนเองอาศัยอยู่
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์
เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และเป็นปัจจัยที่สำคัญในการสร้างสรรค์ภูมิทัศน์ที่เป็นสิ่งดึงดูดในทางการท่องเที่ยวได้เป็นอย่างมาก ซึ่งปัจจัยสำคัญเหล่านี้ ได้แก่
- ลักษณะทางภูมิศาสตร์
- ลักษณะทางภูมิอากาศ
ปัจจัยทางวัฒนธรรม
วิถีการดำเนินชีวิตของคนในสังคม นับตั้งแต่วิธีกินอยู่ วิธีอยู่ วิธีการแต่งกาย วิธีทำงาน วิธีพักผ่อน วิธีแสดงอารมณ์ วิธีสื่อความ วิธีจราจรและขนส่ง วิธีอยู่ร่วมกันอย่างเป็นหมู่คณะ วิธีแสดงความสุขทางใจ และหลักเกณฑ์การดำเนินชีวิต
อ้างอิง
เอกสารคำสอนวิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว HT201
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
อ้างอิงรูปภาพ
http://rayong.kapook.com/00013/
http://www.vcharkarn.com/vblog/16268/6/n/67447/1
http://travel.kapook.com/view2940.html
http://web.chiangrai.net/tourcr/type_tour/cultural.php
http://www.wasi.or.th/wasi/index.php?page=link_p&select_page=1&group_=03&code=02&idHot_new=15
http://www.thaionlinemarket.com/picproduct/7-103/thumbnailshow259817.jpg
http://littlegeog26.blogspot.com/2009/12/blog-post_16.html
http://www.maipaimairoo.com/?p=1285
วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2553
Tourism Industry [บทที่2]
ประวัติศาสตร์การท่องเที่ยว
จากยุคเริ่มต้นถึงช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่2
ในสมัยอาณาจักรโรมันการท่องเที่ยวมีทั้ง การท่องเที่ยวภายในประเทศและการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ แต่การท่องเที่ยวระหว่างประเทศนั้นเป็นการท่องเที่ยวที่ไร้พรมแดน เพราะไม่มีอาณาเขตแบ่งแยกดินแดนว่าเป็นดินแดนของอังกฤษ หรือซีเรีย อย่างปัจจุบัน เพราะอาณาจักรโรมันครอบคลุมไปถึงหมด ทุกแห่งใช้เงินตราของโรมัน ท้องทะเลปลอดจากโจรสลัด เพราะมีการลาดตระเวนของทหารโรมัน ภาษาละตินก็เป็นภาษาที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในยุคนั้น ชาวโรมันเดินทางไปยัง Sicily, กรีซ เกาะ Rhodes เมืองทรอย และอิยิปต์ และเมื่อถึงศตวรรษที่3 ชาวโรมันก็ได้เดินทางไปจนถึงดินแดนอันศักดิ์สิทธิ์ (The Holy Land)
ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
จากยุคเริ่มต้นถึงช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่2
เมืองบาธ
ในสมัยอาณาจักรโรมันการท่องเที่ยวมีทั้ง การท่องเที่ยวภายในประเทศและการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ แต่การท่องเที่ยวระหว่างประเทศนั้นเป็นการท่องเที่ยวที่ไร้พรมแดน เพราะไม่มีอาณาเขตแบ่งแยกดินแดนว่าเป็นดินแดนของอังกฤษ หรือซีเรีย อย่างปัจจุบัน เพราะอาณาจักรโรมันครอบคลุมไปถึงหมด ทุกแห่งใช้เงินตราของโรมัน ท้องทะเลปลอดจากโจรสลัด เพราะมีการลาดตระเวนของทหารโรมัน ภาษาละตินก็เป็นภาษาที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในยุคนั้น ชาวโรมันเดินทางไปยัง Sicily, กรีซ เกาะ Rhodes เมืองทรอย และอิยิปต์ และเมื่อถึงศตวรรษที่3 ชาวโรมันก็ได้เดินทางไปจนถึงดินแดนอันศักดิ์สิทธิ์ (The Holy Land)
เมืองบาธ เมืองที่มีสถาปัตยกรรมแบบโรมัน เก่าแก่ และ สวยงาม
มัคคุเทศก์และคู่มือนำเที่ยวในยุคต้นๆ
ความรู้ที่เรามีเกี่ยวกับการเดินทางในสมัยแรก ๆ มาจากข้อเขียนนักประวัติศาสตร์ และนักเดินทางที่มีความสำคัญที่มีชื่อว่า Herodotus ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วง 484 ปี ถึง 424 ปีก่อนคริสตกาล อาจเรียกได้ว่าเป็นนักเขียนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวคนแรกของโลกก็ว่าได้ Herodotus ได้บันทึกคำบอกเล่าของเหล่ามัคคุเทศก์ในสมัยนั้นเกี่ยวกับเรื่องที่น่าเหลือเชื่อต่าง ๆ
มัคคุเทศก์ในสมัยก่อนคริสตกาลอาจแบ่งออกได้เป็น 2 พวกด้วยกัน
พวกแรก คือ พวกที่เรียกว่า Periegetai มีหน้าที่คอยต้อนฝูงนักท่องเที่ยวให้เข้ากลุ่ม ส่วนอีกพวกหนึ่งเรียกว่า Exegetai เป็นพวกที่ให้ข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนกับเงินค่าตอบแทน มัคคุเทศก์เหล่านี้มักจะถ่ายทอดข้อมูลที่ไม่เป็นจริงแก่นักท่องเที่ยว
หนังสือคู่มือนำเที่ยวปรากฎขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ 400 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งครอบคลุมแหล่งท่องเที่ยวในกรุงเอเธนส์ สปาร์ตา และเมืองทรอย นักเขียนเกี่ยวกับการท่องเที่ยวชาวกรีก ชื่อ Pausanias ได้เขียนหนังสือชื่อ Description of Greece ขึ้นในระหว่าง คศ. 160-180
Colosseum in Rome
การท่องเที่ยวยุคกลาง
ยุคกลางคือช่วงที่อยู่ระหว่าง คศ. 500-1500 เป็นช่วงต่อจากการล่มสลายของโรมัน แต่ก่อนจะเข้าสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ยุคกลางเรียกกันอีกอย่างหนึ่งว่า ยุคมืด
- เป็นช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ ศาสนาเข้ามามีบทบาทในการกำหนดดำเนินชีวิตของผู้คน
- วันหยุด เริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น
- คนชั้นกลางและชั้นสูงนิยมเดินทางเพื่อแสวงบุญ ในระยะทางไกลและเมืองต่าง ๆ
ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
- เกิดการพัฒนาทางการค้า
- ผู้คนเริ่มใฝ่รู้เกี่ยวกับเรื่องของยุโรปสมัยก่อน โดยเฉพาะชาวอังกฤษที่ร่ำรวย นิยมส่งบุตรบุตรชายออกเดินทางไปต่างประเทศพร้อมกับผู้สอนประจำตัว เป็นระยะเวลา 3 ปี เรียกว่า "แกรนด์ทัวร์" โดยมีจุดมุ่งหมายที่ประเทศ อิตาลี
วันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)